Mechanics

          ในการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งนี้ แบ่งหุ่นยนต์เป็น 2 ชนิด คือ AUTO ROBOT กับ MANUAL ROBOT

          ในการทำหุ่นยนต์ Manaul Robot นั้น มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้

          After the last week, we are the presentation concept robot.  Advantage the presentation. The Teacher get suggest to my group. The teachers suggest in observe build the robot. The teacher is question about the robot.

         The part is Mechanic. The teacher question is structure the robot.  The concept is robot.

         We are the search for structure about the robot.

                   The mechanism moves the robot have importance.

                   The robot can go to in front and rear

                   The robot can go to in front and rear is straight line.

                   The robot can turn around also.

                   The robot can go to in front and stop follow the Remote Control.

        Then, we are design the robot also program Solidwork.

        The structure the robot, raising the sprocket up off the straight line ground removes the sprocket from possible damage when hitting something on the straight line surface. These modifications result in a common track shape,

        We are design the Robot in Solidwork.  The base in robot makes Aluminum and Plastic. The move used to tracked vehicle.

        The structure of robot in Solidwork

 Picture 1 : Wheel

(robot) 20091018_27674.jpg

 

(robot) 20091018_27684.jpg                           Picture 2: Plate

                                                                 The plate is robot. Used to the circuit robot   and the fix wheel.

 

 



(robot) 20091018_27694.jpg

Picture 3:

         After, the teams are presentation in my class. We are presentation to my part. The past mechanic presentation structure the Robots both to AUTO and MANUALS. The teachers ask about speed, movement, weight, working process things the ROBOT and solve structure the ROBOT in Solid work program. The teacher is approving build to the MANUALS ROBOT. Part of AUTO solves structure. And he told about working process simulate to the ROBOT.



             After, I’m presentation robot of the week. I solve structure in the MANUAL ROBOT. I change position wheel on the MANUAL ROBOT.

             I solve structure the ROBOT in solid work program.

             I buy TRACK & WHEEL SET by TAMIYA and I receive aluminum sheet from my friend in Group.           

             I start build the robot.   

(robot) 20091018_27704.jpg

 

         ในการทำหุ่นยนต์ AUTO Robot นั้น มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้

  

             1.ศึกษากติกาการแข่งขัน เพื่อจะรู้ว่าเราควรจะออกแบบหุ่นยนตร์แบบไหนและให้มีฟังชันก์การทำงานแบบไหนเพื่อทำให้หุ่นยนตร์ที่ทำออกมามีประสิทธิภาพสูงสุดเหมาะสมกับงานนั้น 

             2.ออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนตร์โดยใช้โปรแกรม Solid work 2007  

             3.คัดเลือกวัสดุอุปกรณ์สำหรับการทำหุ่นยนตร์ 

                - โครงสร้างหุ่นยนตร์ ใช้ อะลูมิเนียม 

                - Motor dc 12 v 5ตัว 

                - ขับเคลื่อนล้อ ความเร็ว 50rpm 2 ตัว 

                - หยิบส้ม 30 rpm 3 ตัว 

                - ล้อ free wheel 1 ล้อ 

                - ล้อธรรมดา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5cm 2ล้อ 

            4.ลงมือทำตัวหุ่นยนตร์  

               - ตัดอะลูมิเนียมเป็นแผ่นตามขนาดที่ออกแบบไว้ 

               - ติดล้อเข้ากับอะลูมิเนียมแผ่นล่างสุด 

               - เจาะรูยึดสำหรับยึดแผ่นอะลูมิเนียมเข้าด้วยกัน 

               - ทำการยึดแผ่นอะลูมิเนียมโดยการให้นอตยึดเป็นชั้นๆตามที่ออกแบบไว้ 

               - ทำอุปกรณ์หยิบส้มตามที่ออกแบบไว้ 

               - ทำการติดมอเตอร์สำหรับเคลื่อนที่และสำหรับอุปกรณ์หยิบส้ม 

               - ตรวจสอบการทำงานของหุ่นยนตร์ ว่าทำงานได้ตามที่ออกแบบไว้ได้หรือป่าว  

           น้ำหนักโดยรวมของหุ่นยนตร์  

               โครงเปล่าและมอเตอร์ ประมาณ  700-800       กรัม 

               วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ประมาณ        150         กรัม  

               วงจรMicrocontroller ประมาณ       50         กรัม 

           น้ำหนักทั้งหมดโดยรวม                  1 kg 

           วิธีการคำนวณ ค่า Torque 

                 Torque=F.r  หน่วย N.m 

                 F=umg 

                 F=แรงที่วัตถุกระทำต่อพื้นโลก มีหน่วยเป็น N(นิวตัน) 

                 g= แรงโน้มถ่วงของโลก มีค่า 9.81 m/s2 

                 u = สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน มีค่าตั้งแต่ 0-1 kg/m3 แต่ที่นี้ผมกำหนดให้มีค่าสูงสุดเท่ากับ 1 kg/m3   

                 r=รัศมี(โดยในที่นี้คือรัศมีล้อ)

  

ตัวอย่างการคิดคำนวณ 

F= umg =1 kg/m3  *1kg*9.81 m/s2 =9.81 N 

Torque = F.r =9.81 N* 0.025 m = 0.24 N.m 

  

 


  



 

 



 

 

Advertising Zone    Close

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...